ตำนานแม่นาคแห่งบ้านพระโขนง

  เรื่องราวความรักความผูกพันระหว่างหญิงสาวคนหนึ่งกับชายหนุ่มคนหนึ่งซึ่งมีความรักกันแต่ถูกพรากจากความตายกลายมาเป็นตำนานเล่าขานต่อๆกันมาจนถึงปัจจุบันสำหรับเรื่องเล่าของตำนานแม่นาคพระโขนงเป็นเรื่องเล่าที่มีมานานมากมายหลายปีก่อนที่หญิงสาวคนหนึ่งและชายหนุ่มคนหนึ่งที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านพระโขนง

เกิดความรักความผูกพันแต่งงานกันแต่ด้วยหน้าที่ที่ฝ่ายชายต้องเข้ารับราชการทหารจึงทำให้ฝ่ายชายต้องเดินทางไปเป็นทหารเกณฑ์และต้องออกรบในขณะที่ฝ่ายหญิงก็คือแม่นาคตั้งอยู่ที่หมู่บ้านพระโขนงเฝ้ารอคอยสามีให้กลับมาซึ่งระหว่างที่สามีก็คือพ่อมากเดินทางไป – อยู่นั้นแม่นาคก็อยู่ระหว่างของการตั้งท้องพอดีเรื่องราวความรักนี้มีการเล่าต่อๆกันมาถึงการเฝ้ารอคอยสามีของแม่นาคโดยในทุกๆเย็นเธอมักจะไปยืนตรงท่าน้ำ

ซึ่งจะเป็นสะพานไม้คอยเฝ้ารอมองหาเรือที่ผ่านไปผ่านมาว่าอาจจะมีเรือลำไหนสักลำที่ได้ป่าท้อมากกลับมาสู่บ้านแต่จนแล้วจนเล่าจากวันเป็นเดือนจากเดือนเป็นหลายเดือนหน้าก็ยังไม่กลับมาสักทีจะมาถึงในช่วงที่แม่นากเจ็บท้องที่จะคลอดลูกซึ่งในสมัยโบราณนั้นการคลอดลูกจะกระทำกันที่บ้านเนื่องจากในสมัยโบราณยังไม่มีหมอและยังไม่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยเหมือนเช่นทุกวันนี้

ดังนั้นการคลอดลูกจึงค่อนข้างลำบากแล้วก็เกิดเหตุการณ์ที่เศร้าสลดเกิดขึ้นเมื่อลูกในท้องของแม่นาคยังไม่กลับหัวส่งผลให้การคลอดยากลำบากและในที่สุดด้วยความเจ็บจนไม่สามารถทนได้แม่นาคจึงเสียชีวิตในระหว่างทำคลอดลูกดังจากมีเลือดออกในปริมาณมากจึงทำให้แม่นาคเสียเลือดมากจนช็อคและเสียชีวิตไปซึ่งถ้าหากเป็นในสมัยปัจจุบันนั้นการคลอดลูก

สำหรับเด็กที่ไม่ยอมกลับหัวทางโรงพยาบาลก็จะทำการผ่าคลอดซึ่งจะทำให้ทั้งแม่และเด็กปลอดภัยแต่เนื่องจากสมัยก่อนยังไม่มีเทคโนโลยีอย่างนี้จึงเป็นผลให้แม่นาคต้องเสียชีวิตจากการคลอดลูกชาวบ้านจึงพากันนำศพของแม่นาคไปทำการฝังไว้และเมื่อสงครามสงบ 

พ่อมากจึงได้กลับมาตั้งใจจะมาอยู่กับลูกเมียก็พบว่าแม่น่าเสียชีวิตลงเสร็จแล้ว และเรื่องราวความรักยังไม่จบเพียงเท่านั้นเมื่อแม่นาคยังคงรักในตัวสามีเธอจึงได้เป็นวิญญาณมาใช้ชีวิตอยู่กับสามีจนชาวบ้านรู้ข่าวต่างก็พากันบอกเล่าเรื่องว่าแม่นาคเสียชีวิตให้สามีของเธอฟัง

จึงทำให้เธอโมโหก็เธอเข้าใจว่าชาวบ้านมาพรากสามีของเธอไปจึงมีเหตุการณ์แม่นาคอาละวาดหลอกหลอนชาวบ้านจนต้องให้หลวงพ่อมาช่วยกักขังวิญญาณแม่นาคนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาที่หมู่บ้านพระโขนงจึงได้สงบสุขลงดังเดิม และพ่อมากก็ได้บวชอุทิศบุญกุศลให้แม่นาก

 

ได้รับการสนับสนุนโดย  sagame