ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาตชคอีสานของประเทศไทยเป็นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่มันตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์โดยพบหลักฐานการตั้งชุมชนของมนุษย์มานานหลายพันปีเพราะในพื้นที่มีแม่น้ำสำคัญๆอยู่หลายสายไหลผ่านและที่ลาบลุ่มริมน้ำก็เป็นพื้นที่อันเหมาะสมอันต่อการสร้างชุมชนแหล่งอาศัยในทางภูมิศาสตร์ได้แบ่งภาคอีสานเป็นสองส่วนใหญ่ๆคือ แอ่งสกลนคร และ แอ่งโคราช
โดยใช้แนวภูเขาภูพานเป็นเส้นกำเนิด
ซึ่งทั้งสองส่วนแม้จะอยู่ห่างกันแค่เพียงเขากั้นแต่ความแตกต่างทางภูมิประเทศและทรัพยากรก็ได้ทำให้ผู้คนสองฝั่งมีรายละเอียดทางวัฒนธรรมต่างกันไปด้วย ซึ่งเรื่องนี้มีหลักฐานยืนยันมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์จนแม้เมื่ออารยธรรมจากต่างแดนหลากหลายเข้ามาความแตกต่างนี้ก็ยังมีให้เห็น ในช่วงพุทธศตวรรษที่12เมื่อพุทธศาสตร์สนาแผร่จากอินเดียเข้าสู่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาชุมชนดั่งเดิมในภูมิภาค
ได้มีการเปลี่ยนแปรงทางสังคมและวัฒนธรรมเกิดเป็นวัฒนธรรมใหม่ที่เรียกว่าทวารวดี
ซึ่งต่อมาได้ขยายตัวข้ามจากภาคกลางสู่แอ่งโคราช และ แอ่งสกลนคร จนมีการผสมผสานกับวัฒนธรรมพื้นถิ่นเดิมกลายมาเป็นวัฒนธรรมทวารวดีแบบท้องถิ่นขึ้นมาขณะที่ช่วงเวลาไกล้เคียงกันนั้นอิทธิพลทางศาสตร์สนาอินเดียก็ยังแผร่เข้าสู่ชุมชนบริเวณสามเลี่ยมปากแม่น้ำโขรงด้วย จึงเกิดลักษณะศิลปะกรรมของทางพุทธสนาแบบฟูนันและฮินดูแบบเจนละ อันเป็นต้นทางของวัฒนธรรมขอม
ซึ่งได้เข้ามามีอิทธิพลในยุคต่อมา และวันนี้เราอยู่ที่จังหวัดอีสานใต้เพื่อมาเล่าถึงศาสตร์สถานเก่าแก่ที่ถูกค้นพบอยู่บนถนนแถวหลวงหมายเลข24 สถาปัตยกรรมโบราณเหล่านี้สร้างขึ้นในวัฒนธรรมขอมเมื่อหลายร้อยปีก่อนแต่ด้วยวัสดุที่แข็งแกร่งทนอย่างศิลาทำให้วันนี้เรายังพบเห็นร่องรอยอันหน้าอัศจรรย์ที่คนรุ่นก่อนเพียงสร้างเอาไว้ พบกันเรื่องราวของปราสาทขอม
หรือ ปราสาทหินที่น่าสนใจ สุรินทร์เป็นหนึ่งในห้าของจังหวัดเขตอีสานใต้ที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข24ตัดผ่าน สุรินทร์เป็นชุมชนเก่าแก่โบราณ
ซึ่งพบหลักฐานว่ามีมนุษย์อยู่อาศัยตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายก่อนจะค่อยๆพัฒนาเจริญรุ่งเรืองผ่านยุคสมัยต่างๆมีจนถึงปัจจุบันทั่วจังหวัดสุรินทร์มีรายงานโบราณสถานอยู่เป็นจำนวนมากรวมถึงปราสาทหินซึ่งเป็นเป่าหมายที่สำคัญจากสี่แยกปราสาทบนถนนหมายเลข24เมื่อเราเลี่ยวซ้ายต่อไปราวๆ60กิโลเมตรผ่านเขตอำเภอเมืองถนนจะผาไปถึงปราสาทที่มีชื่อเสียงที่สุดของจังหวัดสุรินทร์นั้นคือ ปราสาทหินศรีขรภูมิ
จากการสำรวจและขุดแต่งนักโบราณคดีพบว่าปราสาท ศรีขรภูมิ สร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่17เพื่อเป็นศาสตร์สถานศาสนาฮินดูก่อนพบการบูรณะครั้งใหญ่ในสมัยอยุธยาตอนปลายราวพุทธศตวรรษที่22ถึง23เพื่อดัดแปรงให้เป็นวัดในพระพุทธศาสนา